เปิดตัวใหม่! FinVest Index Fund Pick กองทุน Index Fund แนะนำ โดย FinVest

เปิดตัวใหม่! FinVest Index Fund Pick กองทุน Index Fund แนะนำ โดย FinVest


อยากลงทุน แต่ไม่รู้จะเลือกกองทุนอย่างไร

บทความนี้มีคำตอบครับ

โดยในบทความนี้เราจะพูดถึง 5 เรื่องสำคัญ ได้แก่

1️⃣ Passive Fund คืออะไร ?
2️⃣ ทำไมต้อง Index Fund ?
3️⃣ Index Fund วัดผลงานอย่างไร ?
4️⃣ เลือกกองทุน Index Fund อย่างไรดี  ?
5️⃣ กองทุน Index Fund แนะนำ โดย FinVest


┏━━━━━━━━━━━━━┓

🎤 รวมโปรโมชันกองทุน

😎 DCA ที่ FinVest เจ๋งอย่างไร?

😎 3 เหตุผล ทำไม FinVest Fund Screener เป็น ฟีเจอร์ กองทุน ที่ดีที่สุด

😎 |FinVest Pick| กองทุนแนะนำ จาก FinVest

😎 |AMC Pick| กองทุนแนะนำโดยบลจ. จาก FinVest




ถ้าให้สรุปง่าย ๆ

Active Fund = กองทุนที่พยายามเอาชนะดัชนี

Passive Fund = กองทุนที่พยายามเป็นดัชนี

โดยหลักการลงทุนของ Passive Fund คือ ลงทุนในหุ้นทุกตัวในสัดส่วนที่ใกล้เคียงดัชนีอ้างอิง เช่น Index Fund ที่เราคุ้นเคย





  • ง่าย
  • ค่าธรรมเนียมต่ำ
  • ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่ากองทุน Active ในบางครั้ง
  • เหมาะกับคนที่อยากเทรดระยะสั้น
  • เหมาะกับคนที่อยากลงทุนระยะยาว





เรามาลองทายกันเล่น ๆ ดีกว่า Index Fund กองไหนดีกว่ากัน

สมมติว่าดัชนีให้ผลตอบแทน: +10%

กองทุน A :  +15%

กองทุน B : +10%

กองทุนไหนดีกว่ากัน ?


คำตอบคือ กองทุน B

เพราะว่ากองทุน A ให้ผลตอบแทนห่างจากดัชนี แม้จะให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า

แล้วแบบนี้จะวัดความสามารถของกองทุนยังไง


ปกติแล้วกองทุนดัชนีจะมีมาตรวัดที่เรียกว่า “Tracking Error”

โดยที่

ตัวเลขมาก = ไม่ดี เพราะ กองทุนดังกล่าวให้ผลตอบแทนที่เหวี่ยง ไม่ใกล้เคียงดัชนี

ตัวเลขน้อย = ดี เพราะ กองทุนดังกล่าวให้ผลตอบแทนที่ใกล้เคียงดัชนี





จำ 4 ข้อนี้ให้ขึ้นใจเลยว่า

  • Tracking Error ต่ำ
  • ค่าธรรมเนียมต้องถูก
  • เลือกประเทศที่เศรษฐกิจโต หรือสินทรัพย์ที่มีปัจจัยสนับสนุน
  • ลดหย่อนภาษีได้ยิ่งดี





FinVest Index Fund Pick
กองทุน Index Fund แนะนำ โดย FinVest


จากตาราง จะเห็นว่า

สินทรัพย์ : สำหรับหุ้นมีให้เลือกทั้งแบบภูมิภาค รายประเทศ ทั้งไทยและเทศ หลายดัชนี เอาไว้สร้างผลตอบแทนเป็นกอบเป็นกำ สำหรับทองคำ เอาไว้ช่วยกระจายความเสี่ยง ใครชอบแบบไหนจัดไป

ความเสี่ยงค่าเงิน : มีกองทุน Hedged สำหรับคนที่กังวลค่าเงินผันผวน และ Unhedged สำหรับคนที่คาดหวังว่าจะทำกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน

เก็งกำไร : สำหรับสายเก็งกำไร แนะนำกองทุน Non-tax เพราะไม่ติดเงื่อนไขระยะถือครอง

ออมระยะกลาง : สำหรับนักลงทุนที่มีแผนออมเงินเพื่อลงทุนระยะกลาง แนะนำให้ดูตาราง TESG และ SSF เพราะได้สิทธิลดหย่อนภาษีและถือครองแค่ 5 ปี และ 10 ปี ตามลำดับ

ออมระยะยาว : สำหรับสายออมเพื่อลงทุนระยะยาวยันเกษียณ แนะนำกอง RMF เพราะได้สิทธิลดหย่อนภาษี


สินทรัพย์ดัชนีอ้างอิงป้องกันความเสี่ยงด้านค่าเงิน (Hedged)ไม่ป้องกันความเสี่ยงด้านค่าเงิน (Unhedged)
Non-taxSSFRMFNon-taxSSFRMF
หุ้นโลกMSCI WorldSCBWORLD(A)SCBWORLD(SSF)SCBRMWORLD(A)ES-WDEQ
MSCI All CountryK-WORLDXKKP PGE-H-SSFKKP PGE RMF-HKKP PGE-UHKKP PGE-UH-SSF
หุ้นยุโรปSTOXX50K-EUX
STOXX600SCBEUEQASCBRMEU
หุ้นตลาดเกิดใหม่MSCI EM ex ChinaKKP EMXCN-HKKP EMXCN-UH
MSCI EMES-EMEQ
หุ้นเอเชีย ยกเว้นญี่ปุ่นMSCI Asia ex JapanK-ASIAX
หุ้นสหรัฐฯS&P500K-US500X-A(A)SCBS&P500(SSFA)SCBRMS&P500
Nasdaq100TLUSNDQ-H-ATLUSNDQ-H-SSFSCBRMNDQ(A)KKP NDQ100-UHKKP NDQ100-UH-SSF
หุ้นจีนCSI300SCBCHAASCBCHA-SSFSCBRMCHA
FTSE A50K-CHX
HSCEISCBCEHSCBCESCBCE(SSF)
HSIASP-HSI
MSCI ChinaKKP CHINA-HKKP CHINA-H-SSF
หุ้นญี่ปุ่นNikkei225KT-JPFUND-ASCBRMJP
TopixK-JPX-A(A)
หุ้นอินเดียNifty50K-INDX
ทองคำLBMA Gold PriceKF-HGOLDSCBGOLDH-SSFKGDRMFSCBGOLDES-GOLDRMF-UH
สินทรัพย์ดัชนีอ้างอิงNon-taxSSFRMFTESG
หุ้นไทยSETSCBSETSCBLTSET-SSF
SET50KT-SET50-ASCBSET50(SSF)KTSET50RMF
SET100KFS100-APRINCIPAL SET100RMF
SETESGKKP SET50 ESGKKP SET50 ESG-SSFKT-ESG RMFES-SETESG-ThaiESG-A



┏━━━━━━━━━━━━━┓

💫 FinVest แอปลงทุนแบบใหม่ ที่ได้รวบรวมกองทุนทั่วโลก มาให้คุณเลือกกองทุนที่เหมาะสม และตรงกับไลฟ์สไตล์ของตัวเอง ได้ง่าย ๆ

⭐️ ลงทุนได้ทั้งไทยและเทศ แอปแรกในไทย ให้คุณลงทุนได้จาก 43 บลจ. ชั้นนำ

⭐️ ใช้งานง่าย เริ่มต้นแค่มือถือเครื่องเดียว ทำได้ตั้งแต่เปิดบัญชียันซื้อขายง่ายแค่ปลายนิ้ว

⭐️ เคียงข้างคุณ มีทีมผู้เชี่ยวชาญคอยอัปเดตสภาพตลาด รวมถึงชี้เป้าการลงทุน

🔗 เริ่มลงทุน – แอป FinVest

🔗 สอบถาม – LINE

🔗 ติดตาม – Facebook | Instagram

🔗 อ่านบทความ – Website

┗━━━━━━━━━━━━━┛

#FinVest #YourWingsYourWays

*ผลการดำเนินงานในอดีตของกองทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันผลการดำเนินงานในอนาคต

**การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไข ผลตอบแทน และความเสี่ยง ก่อนตัดสินใจลงทุน

Related Posts