ออกแบบพอร์ตตามอายุเกษียณ กับการจัดพอร์ตแบบ Target Date
ในตอนก่อนหน้า เราพูดถึงการจัดพอร์ตแบบ ไปแล้ว มาคราวนี้เราจะพูดถึงการจัดพอร์ตสำหรับคนที่อยากให้เวลาเป็นตัวกำหนดสัดส่วนพอร์ต ว่าแล้วไปดูกันเลย การจัดพอร์ตแบบ Target Date สำหรับนักลงทุนที่ต้องการวางแผนเกษียณ อย่างที่ทราบกันดีว่าตอนอายุยังน้อย ๆ เรายังรับความเสี่ยงได้มากอยู่ ในขณะที่พอเราอายุเยอะขึ้น เราจะรับความเสี่ยงได้น้อยลง ปัญหาที่ตามมาคือ จะเลือกกองทุนยังไงให้เหมาะกับช่วงอายุเรา? การจัดพอร์ตแบบ Target Date เลยออกแบบมาเพื่อการนี้ ปรับสัดส่วนการลงทุนตามอายุเป้าหมายของนักลงทุน โดยหลักการคือ ยิ่งใกล้ถึงวันเป้าหมาย พอร์ตจะยิ่งลดความเสี่ยงลงเอง ในทางทฤษฏีคือ โดยการจัดแบบ Target Date นั้นสามารทำได้สองวิธีหลัก ๆ ได้แก่ 1. จัดพอร์ตแบบ Target Date ด้วยตัวเอง ข้อดี : จัดพอร์ตได้ตามใจ ข้อเสีย...
มือใหม่จัดพอร์ตตามได้ มือเก๋าก็ใช้ดี กับการจัดพอร์ตแบบเท่า ๆ กัน (Naive Diversification)
ในตอนก่อนหน้า เราพูดถึงการจัดพอร์ตแบบ ไปแล้ว มาคราวนี้เราจะพูดถึงการจัดพอร์ตที่แสนง่าย มือใหม่ก็ทำได้ มือเก๋าก็ใช้ดี กันครับ ว่าแล้วไปดูกันเลย การจัดพอร์ตแบบเท่า ๆ กัน หรือ 1/n (Naive Diversification) คืออะไร? ลืมการจัดพอร์ตที่ยุ่งยากซับซ้อนไปได้เลย เพราะแนวคิดการจัดพอร์ตแบบนี้คือจัดพอร์ตแบบแบ่งเงินเท่า ๆ กัน ไม่ต้องคิดมาก เพื่อกระจายความเสี่ยง ลดความซับซ้อนลง ไม่ว่าจะมือใหม่หรือมือเก๋า ก็จัดพอร์ตได้ ข้อดี : เหมาะสำหรับนักลงทุนที่ต้องการกระจายความเสี่ยงโดยไม่ต้องการการวิเคราะห์มาก จุดที่ต้องระวัง : อาจสูญเสียการโฟกัสถ้ากระจายการลงทุนมากไป เช่น แบ่ง 20 กองทุน หรืออาจขาดทุนหนักถ้ากระจายพอร์ตแล้วแต่ยังกระจุกอยู่ในสินทรัพย์กลุ่มเดียวกันหรือปัจจัย ๆ เดียวกัน เป็นต้น สอนจัดพอร์ตแบบ...
จุดตัดสินใจซื้อกองทุนลดหย่อนภาษี โดย FinVest
คุ้มไหม ถ้าจะซื้อกองทุนลดหย่อนภาษี? นี่คือคำถามที่หลายคนสงสัย แล้วจริง ๆ ผลตอบแทนที่ได้จากกองทุนรวมจริง ๆ เป็นเท่าไร วันนี้ FinVest เรามีคำตอบครับ มารู้จักกับต้นทุนค่าเสียโอกาสกันก่อน ต้นทุนค่าเสียโอกาส คือ การทำอย่างหนึ่งต้องแลกกับการไม่ได้ทำอีกอย่างหนึ่ง เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ขอยกตัวอย่างเรามีทางเลือกการลงทุน 2 ทาง นี่คือปัญหาที่นักลงทุนหลายคนกังวลกับกองทุน SSF และ RMF และ TESG เนื่องจากการลงทุนใน SSF และ RMF ทำให้เราเสียสภาพคล่องหรือไม่มีโอกาสได้ใช้ไปไปนั่นเอง เพราะอย่าลืมว่า แปลว่าการเลือกลงทุนในด้วยการเลือกซื้อกองทุนลดหย่อนภาษี ทำให้เราเสียโอกาสไม่ได้ใช้เงินอย่างน้อยก็ช่วงเวลาหนึ่งเลย ทีนี้คำถามต่อมาแล้วจะเลือกวิธีไหนดี อะไรคือจุดตัดสินใจ ไปดูกันต่อเลยครับ แล้วอะไรคือจุดตัดสินใจว่าเลือกวิธีไหน ผลตอบแทนที่เราได้จากการลงทุนใน SSF, RMF...
มนุษย์เงินเดือนต้องรู้! เงินเดือนตั้งแต่ 25,834 บาท ต้องเสียภาษีเงินได้แล้วนะ
เรทเงินเดือนสูงสุดที่ยังได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาคือ 25,833 บาท คำนวณง่าย ๆ ได้ดังนี้ แต่ถ้าเงินเดือนตั้งแต่ 25,834 บาทขึ้นไป จะต้องเสียภาษีเงินได้ตามขั้นบันไดแล้วนะ อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาแบบขั้นบันได ปี 2567 เงินได้สุทธิต่อปี อัตราภาษี ภาษีสะสมสูงสุดของขั้น ไม่เกิน 150,000 บาท ได้รับการยกเว้น – 150,001 – 300,000 บาท 5% 7,500 300,001 – 500,000 บาท 10% 20,000 500,001 – 750,000 บาท 15% 37,500 750,001...
สอนจัดพอร์ตแบบเน้นกระแสเงินสด Income-Focused Portfolio ฉบับจับมือทำ โดย FinVest
ในตอนก่อนหน้า เราพูดถึงการจัดพอร์ตแบบ ไปแล้ว มาคราวนี้เราจะพูดถึงการจัดพอร์ตสำหรับคนที่ชอบเงินปันผลกัน ว่าแล้วไปดูกันเลย พอร์ตแบบเน้นกระแสเงินสด (Income-Focused Portfolio) คืออะไร? ถ้าอยากได้กระแสเงินสดจากการลงทุน การจัดพอร์ตแบบ Income Focus คือคำตอบ เพราะการลงทุนแบบ Income-Focused Portfolio คือการลงทุนโดยเน้นผลตอบแทนในรูปแบบเงินปันผลหรือกระแสเงินสด โดยเหมาะสำหรับนักลงทุนที่ต้องการกระแสเงินสดมาช่วยใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน โดยการจัดพอร์ตแบบนี้จะเน้นการลงทุนในสินทรัพย์ที่ให้รายได้ประจำอย่างสม่ำเสมอ เช่น ข้อดี : ได้รับรายได้ประจำอย่างสม่ำเสมอ โดยพอร์ตไม่ผันผวนมากจนเกินไป เพราะโดยส่วนมากแล้วสินทรัพย์ที่ให้กระแสเงินสดเสมอสม่ำเสมอจะมีราคาผันผวนไม่สูงมาก จุดที่ต้องระวัง : พอร์ตอาจจะจ่ายปันผลสม่ำเสมอ แต่การเติบโตอาจจะต่ำ สอนจัดพอร์ต Income-Focused Portfolio แบบจับมือทำ แบ่งเงินเป็นสี่ก้อน สัดส่วน ไปดูตัวอย่างกันเลย พอร์ตกองทุนรวมทั่วไป เหมาะกับใคร: นักลงทุนที่ต้องการกระแสเงินสด ...
ปี 2567 นี้ซื้อกองทุน SSF RMF และ TESG แบบจัดเต็ม คิดเป็นผลตอบแทนกี่% โดย FinVest
ซื้อกองทุนเพื่อเอาผลตอบแทนจากการลดหย่อนภาษีดีไหม? นี่คือคำถามที่หลายคนสงสัย วันนี้ FinVest เราทำตารางมากางให้เห็นเลยว่า ถ้าเงินเดือนเท่านี้ แล้วซื้อกองทุนแบบอัด จัดหนัก จัดเต็ม จะคิดเป็นผลตอบแทนกี่% แต่ก่อนอื่นเราไปทำความเข้าใจกันก่อนว่า ปีภาษี 2567 นี้ รัฐบาลให้สิทธิอะไรเราบ้าง สิทธิภาษีสำหรับการลงทุน สรุปมาให้แล้วแบบกระชับ ปีนี้มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย แต่เป็นการเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น เกณฑ์สำหรับ SSF และ RMF นั้นเหมือนเดิม ที่เปลี่ยนไปคือกองทุน TESG ที่จากเดิมในปี 2566 ให้วงเงิน 100,000 ปัจจุบันจะให้เพิ่มเป็น 300,000 ในปี 2567 สำหรับใครที่ลืมเงื่อนไข เรามาทวนกันคร่าว ๆ ตรงนี้ครับ ทั้งนี้ RMF และ...
สอนจัดพอร์ต Core-Satellite ฉบับจับมือทำ โดย FinVest
คราวที่แล้วเราได้พูดถึงการจัดพอร์ตแบบ 60/40 ไปแล้ว เชื่อว่ามีนักลงทุนหลายท่านที่รู้สึกว่า 60/40 อาจจะธรรมดาไป โดยเฉพาะนักลงทุนที่ชอบความตื่นเต้น ทีนี้เราลองมาดูการจัดพอร์ตอีกแบบหนึ่งที่ช่วยให้นักลงทุน (อาจจะ) คว้าโอกาสที่มากกว่า 60/40 นั่นก็คือการจัดพอร์ตแบบ Core-Satellite ในบทความนี้ เราจะอธิบายว่า Core-Satellite คืออะไร พร้อมตัวอย่าง ไปลุยกันเลย การจัดพอร์ตแบบ Core-Satellite คืออะไร? หลักการของ Core-Satellite ถ้าให้พูดง่าย ๆ คือการแบ่งเงินส่วนหนึ่งจากพอร์ตการลงทุนหลัก (Core Port) ไปคว้าโอกาสในสินทรัพย์เสี่ยงที่ให้ผลตอบแทนสูงในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งพอร์ตการลงทุนที่แยกออกมานี้เราจะเรียกมันว่าพอร์ตการลงทุนเสริม (Satellite Port) ให้มองภาพง่าย ๆ สมมติว่าเราเป็นคนทำงานประจำ Core Port = รายได้ประจำ...
FinVest พาจัดพอร์ตลดหย่อนภาษี ตอนที่ 1 : จัดพอร์ตแบบ 60/40
การจัดพอร์ต เป็นเรื่องยากถ้าไม่เข้าใจ แต่การจัดพอร์ต จะเป็นเรื่องง่าย ถ้าได้อ่านบทความนี้ มาเริ่มกันที่การจัดพอร์ตแบบง่ายและเร็วที่สุดคือ การจัดพอร์ตแบบ 60/40 กัน การจัดพอร์ตแบบ 60/40 คืออะไร การจัดพอร์ตแบบนี้คือการจัดพอร์ตโดยที่ การจัดพอร์ตแบบนี้ข้อดีคือ ข้อควรรู้ สอนจัดพอร์ตฉบับจับมือทำ ด้วย 4 กองทุนแนะนำจาก FinVest มาถึงการจัดพอร์ตกันบ้าง ในบทความนี้เพื่อความง่าย เราจะจัดพอร์ตแบบ 60/40 ให้ดูเป็นตัวอย่าง โดยกองทุนที่เราจะนำมาเป็นตัวอย่างในวันนี้มีทั้งหมด 4 กองด้วยกัน โดยเป็นกองทุนหุ้น 3 กอง และกองทุนตราสารหนี้อีก 3 กอง มาเริ่มกันเลย ตัวอย่างการจัดพอร์ตกองทุน SSF เหมาะกับใคร: นักลงทุนที่ต้องการลงทุนระยะ 10 ปี...
คำถามจากทางบ้าน | ถ้าซื้อ RMF เกินสิทธิ แต่ถือครบ 5 ปี และอายุเกิน 55 ปี ส่วนที่เกินสิทธิ capital gain ต้องเสียภาษีไหมคะ
พอดีคำนวณผิดซื้อเกิน แต่ถ้าเราถือครบ 55ปี และมากกว่า 5ปี ส่วนเกิน กำไรจาก capital gain ต้องเสียภาษีไหมคะ ต้นเรื่อง : https://pantip.com/topic/43026302 การซื้อ RMF นั้น โดยทั่วไปหากเป็นไปตามเงื่อนไข ผู้ซื้อจะได้สิทธิประโยชน์ 2 กรณี คือสิทธิประโยชน์ในเรื่องการลดหย่อนภาษี และสิทธิประโยชน์ในเรื่องการยกเว้นภาษีกำไรจากการขาย การซื้อเกินสิทธิ เข้าข่ายกรณีผิดเงื่อนไขการซื้อ การผิดเงื่อนไข จะทำให้ผู้ซื้อเสียสิทธิที่ได้จากการซื้อ RMF ในส่วนดังกล่าว ดังนี้ ส่วนภาษี: ส่วนที่เกินสิทธิใช้ลดหย่อนภาษีไม่ได้ และ ส่วนกำไร: กำไรของส่วนที่ไม่ได้ใช้สิทธิลดหย่อนภาษี ต้องนำไปยื่นรวมเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในปีที่ขายด้วยครับ ศึกษาเพิ่มเติมได้จากบทความ ลงทุน RMF อย่างไร ไม่ให้ผิดเงื่อนไข...
ลงทุน RMF อย่างไร ไม่ให้ผิดเงื่อนไข
กองทุน RMF เป็นเครื่องมือในการออมเงินเพื่อเกษียณอายุและได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี แต่หากไม่ศึกษาเงื่อนไขให้ละเอียด และทำผิดเงื่อนไข ก็จะทำให้ต้องคืนสิทธิในการลดหย่อนภาษีที่ใช้ไป และอาจทำให้ต้องเสียภาษีเงินได้จากการขายกองทุนที่ผิดเงื่อนไขอีกด้วย ดังนั้น ก่อนตัดสินใจลงทุนใน RMF ควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับข้อควรระวังดังต่อไปนี้ กองทุน RMF คืออะไร? กองทุน RMF (Retirement Mutual Fund) หรือกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ เป็นกองทุนรวมที่จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการออมเงินในระยะยาว โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการเกษียณอายุ ผู้ลงทุนสามารถนำเงินที่ลงทุนในกองทุน RMF ไปหักลดหย่อนภาษีได้ สิทธิประโยชน์ที่จะได้จากการซื้อกองทุน RMF เงินซื้อกองทุน RMF สามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้สูงสุดไม่เกิน 30% ของเงินได้พึงประเมิน โดยต้องไม่เกิน 500,000 บาท เมื่อรวมกับ เงื่อนไขการลงทุน RMF ที่ต้องรู้ จะเป็นอย่างไร...