ถ้าโชคร้ายสุด ๆ เริ่มต้นลงทุนที่จุดสูงสุด ก่อนเกิดวิกฤติโควิด-19 ผลจะเป็นอย่างไร
มาดูกันว่า ถ้าโชคร้ายสุด ๆ เริ่มต้นลงทุนปุ๊บ ก็ต้องเผชิญวิกฤติเศรษฐกิจโควิด-19 ทันที แต่ละตลาดทั่วโลกจะให้ผลตอบแทนเท่าไร ? 🇺🇸 ถ้าลงทุนในตลาดหุ้นอเมริกา KFUSINDX-A กองทุนเปิดกรุงศรียูเอสอิควิตี้อินเด็กซ์เฮดจ์เอฟเอ็กซ์ ชนิดสะสมมูลค่า 📱 แบบจำลอง DCA ใน กองทุน KFUSINDX-A กองทุนเปิดกรุงศรียูเอสอิควิตี้อินเด็กซ์เฮดจ์เอฟเอ็กซ์ ชนิดสะสมมูลค่า เดือนละ 5,000 บาท ลงทุนครั้งแรกวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 (ที่จุดสูงสุดของ NAV ก่อนเกิด panic ไวรัส Covid-19) ราคาต่อหน่วย 13.9526 บาทต่อหน่วย หลังจากนั้น NAV กองทุนลงไปทำจุดต่ำสุดที่...
มนุษย์เงินเดือนต้องรู้! เงินเดือนตั้งแต่ 25,834 บาท ต้องเสียภาษีเงินได้แล้วนะ
เรทเงินเดือนสูงสุดที่ยังได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาคือ 25,833 บาท คำนวณง่าย ๆ ได้ดังนี้ แต่ถ้าเงินเดือนตั้งแต่ 25,834 บาทขึ้นไป จะต้องเสียภาษีเงินได้ตามขั้นบันไดแล้วนะ อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาแบบขั้นบันได ปี 2567 เงินได้สุทธิต่อปี อัตราภาษี ภาษีสะสมสูงสุดของขั้น ไม่เกิน 150,000 บาท ได้รับการยกเว้น – 150,001 – 300,000 บาท 5% 7,500 300,001 – 500,000 บาท 10% 20,000 500,001 – 750,000 บาท 15% 37,500 750,001...
สอนจัดพอร์ตแบบเน้นกระแสเงินสด Income-Focused Portfolio ฉบับจับมือทำ โดย FinVest
ในตอนก่อนหน้า เราพูดถึงการจัดพอร์ตแบบ ไปแล้ว มาคราวนี้เราจะพูดถึงการจัดพอร์ตสำหรับคนที่ชอบเงินปันผลกัน ว่าแล้วไปดูกันเลย พอร์ตแบบเน้นกระแสเงินสด (Income-Focused Portfolio) คืออะไร? ถ้าอยากได้กระแสเงินสดจากการลงทุน การจัดพอร์ตแบบ Income Focus คือคำตอบ เพราะการลงทุนแบบ Income-Focused Portfolio คือการลงทุนโดยเน้นผลตอบแทนในรูปแบบเงินปันผลหรือกระแสเงินสด โดยเหมาะสำหรับนักลงทุนที่ต้องการกระแสเงินสดมาช่วยใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน โดยการจัดพอร์ตแบบนี้จะเน้นการลงทุนในสินทรัพย์ที่ให้รายได้ประจำอย่างสม่ำเสมอ เช่น ข้อดี : ได้รับรายได้ประจำอย่างสม่ำเสมอ โดยพอร์ตไม่ผันผวนมากจนเกินไป เพราะโดยส่วนมากแล้วสินทรัพย์ที่ให้กระแสเงินสดเสมอสม่ำเสมอจะมีราคาผันผวนไม่สูงมาก จุดที่ต้องระวัง : พอร์ตอาจจะจ่ายปันผลสม่ำเสมอ แต่การเติบโตอาจจะต่ำ สอนจัดพอร์ต Income-Focused Portfolio แบบจับมือทำ แบ่งเงินเป็นสี่ก้อน สัดส่วน ไปดูตัวอย่างกันเลย พอร์ตกองทุนรวมทั่วไป เหมาะกับใคร: นักลงทุนที่ต้องการกระแสเงินสด ...
ปี 2567 นี้ซื้อกองทุน SSF RMF และ TESG แบบจัดเต็ม คิดเป็นผลตอบแทนกี่% โดย FinVest
ซื้อกองทุนเพื่อเอาผลตอบแทนจากการลดหย่อนภาษีดีไหม? นี่คือคำถามที่หลายคนสงสัย วันนี้ FinVest เราทำตารางมากางให้เห็นเลยว่า ถ้าเงินเดือนเท่านี้ แล้วซื้อกองทุนแบบอัด จัดหนัก จัดเต็ม จะคิดเป็นผลตอบแทนกี่% แต่ก่อนอื่นเราไปทำความเข้าใจกันก่อนว่า ปีภาษี 2567 นี้ รัฐบาลให้สิทธิอะไรเราบ้าง สิทธิภาษีสำหรับการลงทุน สรุปมาให้แล้วแบบกระชับ ปีนี้มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย แต่เป็นการเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น เกณฑ์สำหรับ SSF และ RMF นั้นเหมือนเดิม ที่เปลี่ยนไปคือกองทุน TESG ที่จากเดิมในปี 2566 ให้วงเงิน 100,000 ปัจจุบันจะให้เพิ่มเป็น 300,000 ในปี 2567 สำหรับใครที่ลืมเงื่อนไข เรามาทวนกันคร่าว ๆ ตรงนี้ครับ ทั้งนี้ RMF และ...
สอนจัดพอร์ต Core-Satellite ฉบับจับมือทำ โดย FinVest
คราวที่แล้วเราได้พูดถึงการจัดพอร์ตแบบ 60/40 ไปแล้ว เชื่อว่ามีนักลงทุนหลายท่านที่รู้สึกว่า 60/40 อาจจะธรรมดาไป โดยเฉพาะนักลงทุนที่ชอบความตื่นเต้น ทีนี้เราลองมาดูการจัดพอร์ตอีกแบบหนึ่งที่ช่วยให้นักลงทุน (อาจจะ) คว้าโอกาสที่มากกว่า 60/40 นั่นก็คือการจัดพอร์ตแบบ Core-Satellite ในบทความนี้ เราจะอธิบายว่า Core-Satellite คืออะไร พร้อมตัวอย่าง ไปลุยกันเลย การจัดพอร์ตแบบ Core-Satellite คืออะไร? หลักการของ Core-Satellite ถ้าให้พูดง่าย ๆ คือการแบ่งเงินส่วนหนึ่งจากพอร์ตการลงทุนหลัก (Core Port) ไปคว้าโอกาสในสินทรัพย์เสี่ยงที่ให้ผลตอบแทนสูงในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งพอร์ตการลงทุนที่แยกออกมานี้เราจะเรียกมันว่าพอร์ตการลงทุนเสริม (Satellite Port) ให้มองภาพง่าย ๆ สมมติว่าเราเป็นคนทำงานประจำ Core Port = รายได้ประจำ...
FinVest พาจัดพอร์ตลดหย่อนภาษี ตอนที่ 1 : จัดพอร์ตแบบ 60/40
การจัดพอร์ต เป็นเรื่องยากถ้าไม่เข้าใจ แต่การจัดพอร์ต จะเป็นเรื่องง่าย ถ้าได้อ่านบทความนี้ มาเริ่มกันที่การจัดพอร์ตแบบง่ายและเร็วที่สุดคือ การจัดพอร์ตแบบ 60/40 กัน การจัดพอร์ตแบบ 60/40 คืออะไร การจัดพอร์ตแบบนี้คือการจัดพอร์ตโดยที่ การจัดพอร์ตแบบนี้ข้อดีคือ ข้อควรรู้ สอนจัดพอร์ตฉบับจับมือทำ ด้วย 4 กองทุนแนะนำจาก FinVest มาถึงการจัดพอร์ตกันบ้าง ในบทความนี้เพื่อความง่าย เราจะจัดพอร์ตแบบ 60/40 ให้ดูเป็นตัวอย่าง โดยกองทุนที่เราจะนำมาเป็นตัวอย่างในวันนี้มีทั้งหมด 4 กองด้วยกัน โดยเป็นกองทุนหุ้น 3 กอง และกองทุนตราสารหนี้อีก 3 กอง มาเริ่มกันเลย ตัวอย่างการจัดพอร์ตกองทุน SSF เหมาะกับใคร: นักลงทุนที่ต้องการลงทุนระยะ 10 ปี...
รู้หรือไม่ ลงทุนวันละ 20 บาท ใน ดัชนี S&P500 ผ่านไป 40 ปี เงินสะสมจะกลายเป็น 3 ล้านบาท
เงิน 20 บาท ทำอะไรได้บ้างใน 1 วัน อาจเป็น น้ำหวาน 1 ขวด อาจเป็น ไข่ดาว 2 ฟอง อาจเป็น ลูกชิ้น 2 ไม้ แต่รู้หรือไม่ แค่ลงทุนวันละ 20 บาท ผ่านไป 40 ปี เงินสะสมจะมีมูลค่ากว่า 3 ล้านบาท เพียงลงทุนวันละ 20 บาท ในกองทุน ที่ให้ผลตอบแทนคาดหวังที่ 10% ต่อปี เช่น กองทุน S&P500 อย่างมีวินัย ทุก...
ลงทุน RMF อย่างไร ไม่ให้ผิดเงื่อนไข
กองทุน RMF เป็นเครื่องมือในการออมเงินเพื่อเกษียณอายุและได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี แต่หากไม่ศึกษาเงื่อนไขให้ละเอียด และทำผิดเงื่อนไข ก็จะทำให้ต้องคืนสิทธิในการลดหย่อนภาษีที่ใช้ไป และอาจทำให้ต้องเสียภาษีเงินได้จากการขายกองทุนที่ผิดเงื่อนไขอีกด้วย ดังนั้น ก่อนตัดสินใจลงทุนใน RMF ควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับข้อควรระวังดังต่อไปนี้ กองทุน RMF คืออะไร? กองทุน RMF (Retirement Mutual Fund) หรือกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ เป็นกองทุนรวมที่จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการออมเงินในระยะยาว โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการเกษียณอายุ ผู้ลงทุนสามารถนำเงินที่ลงทุนในกองทุน RMF ไปหักลดหย่อนภาษีได้ สิทธิประโยชน์ที่จะได้จากการซื้อกองทุน RMF เงินซื้อกองทุน RMF สามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้สูงสุดไม่เกิน 30% ของเงินได้พึงประเมิน โดยต้องไม่เกิน 500,000 บาท เมื่อรวมกับ เงื่อนไขการลงทุน RMF ที่ต้องรู้ จะเป็นอย่างไร...
ถือหุ้นกู้ EA อยู่ใช่ไหม? อย่าเพิ่งตกใจ ให้ 3 กลไกของกองทุนช่วยคุณ
จากกรณีที่บริษัท Energy Absolute หรือ EA ที่ กลต. กล่าวโทษกรณีการทุจริตและอาจส่งผลถึงความสามารถในการชำระหนี้ ไปจนถึงความเชื่อมั่นของตลาดตราสารหนี้ไทย ซึ่งผู้ถือกองทุนที่มีหุ้นกู้ EA อาจรู้สึกกังวลใจ แต่อย่าเพิ่งตกใจ เพราะกลไก ถูกนำมาใช้เพื่อคุ้มครองผลประโยชน์ของนักลงทุน มาเรียนรู้กันว่ากลไกเหล่านี้คืออะไรและทำงานอย่างไร ┏━━━━━━━━━━━━━┓ 🎤 รวมโปรโมชันกองทุน 😎 DCA ที่ FinVest เจ๋งอย่างไร? 😎 3 เหตุผล ทำไม FinVest Fund Screener เป็น ฟีเจอร์ กองทุน ที่ดีที่สุด 😎 |FinVest Pick| กองทุนแนะนำ จาก...
ทุกสิ่งที่คุณควรรู้เกี่ยวกับดัชนี Nifty 50
ดัชนี Nifty 50 คืออะไร? ดัชนี Nifty 50 เป็นดัชนีสำคัญของตลาดหลักทรัพย์แห่งชาติอินเดีย (National Stock Exchange of India – NSE) ประกอบด้วยหุ้นของบริษัทชั้นนำ 50 แห่งจาก 10+ ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีนี้ถูกออกแบบมาเพื่อสะท้อนถึงผลการดำเนินงานของบริษัทขนาดใหญ่และมีอิทธิพลในตลาดหุ้นอินเดีย ประวัติและความเป็นมา ดัชนี Nifty 50 เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 22 เมษายน 1996 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นดัชนีที่สามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของตลาดหุ้นอินเดีย โดยคัดเลือกหุ้นจากบริษัทที่มีมูลค่าตลาดสูงและมีสภาพคล่องสูง เพื่อให้แน่ใจว่าดัชนีนี้เป็นตัวแทนของภาคส่วนเศรษฐกิจที่มีการกระจายตัวที่หลากหลาย องค์ประกอบของดัชนี Nifty 50 ดัชนี Nifty 50 ประกอบด้วยหุ้นของบริษัทจาก 10+...